คำขวัญ ประจำจังหวัด
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกตุ บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามหน้ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา โลกลือชาข้าวหอมมะลิ |
ร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคอีสานมานานกว่า 200 ปี อดีตเคยเป็นเมืองใหญ่ที่รุ่งเรืองมาก ชื่อว่า สาเกตนคร มีประตูเข้าเมือง 11 ประตู เมืองขึ้น 11 เมือง แต่ปัจจุบันได้มีการพัฒนาในด้านต่างๆ มากมาย เมืองร้อยเอ็ดเป็นเมืองแห่งบึงพลาญชัย และมีส่วนหนึ่งของทุ่งกุลาร้องไห้ที่มีชื่อเสียง ซึ่งมีเนื้อที่กว้างใหญ่ถึงสองล้านไร่เศษ ขณะนี้กำลังได้รับการพัฒนาเพื่อให้เป็นแผ่นดินแห่งความอุดมสมบูรณ์จนแทบจะ หาร่องรอยแห่งอดีตไม่พบ
ประวัติศาสตร์ของเมืองร้อยเอ็ดเริ่มปรากฏขึ้นในราว สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยมีเจ้าลาวจากนครจัมปาศักดิ์ได้เดินทางมาตั้งบ้านเรือนในบริเวณที่เป็น อำเภอสุวรรณภูมิในปัจจุบัน ต่อมาได้มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ย้ายเมืองใหม่มาตั้งที่บริเวณเมืองร้อยเอ็ดปัจจุบัน ส่วนเมืองสุวรรณภูมิเดิมก็ยังคงมีอยู่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์คิดกบฎต่อกรุงเทพฯ ได้ยกทัพเข้ามาตีหัวเมืองรายทางจนถึงนครราชสีมา แต่ก็ถูกทัพไทยตีแตกพ่ายไปในที่สุด
นอกจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว ยังพบหลักฐานทางโบราณคดีแสดงการอยู่อาศัยของคนมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์เช่นกันและรวมทั้งเคยเป็นดินแดนที่อยู่ในเขตอิทธิพลของอาณา จักรขอมโบราณ เพราะพบโบราณสถานแบบขอมหลายแห่ง เช่น กู่พระโกนา อำเภอสุวรรณภูมิ กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย ปรางค์กู่ อำเภอธวัชบุรี เป็นต้น
ประวัติศาสตร์ของเมืองร้อยเอ็ดเริ่มปรากฏขึ้นในราว สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยมีเจ้าลาวจากนครจัมปาศักดิ์ได้เดินทางมาตั้งบ้านเรือนในบริเวณที่เป็น อำเภอสุวรรณภูมิในปัจจุบัน ต่อมาได้มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ย้ายเมืองใหม่มาตั้งที่บริเวณเมืองร้อยเอ็ดปัจจุบัน ส่วนเมืองสุวรรณภูมิเดิมก็ยังคงมีอยู่ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์คิดกบฎต่อกรุงเทพฯ ได้ยกทัพเข้ามาตีหัวเมืองรายทางจนถึงนครราชสีมา แต่ก็ถูกทัพไทยตีแตกพ่ายไปในที่สุด
นอกจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว ยังพบหลักฐานทางโบราณคดีแสดงการอยู่อาศัยของคนมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์เช่นกันและรวมทั้งเคยเป็นดินแดนที่อยู่ในเขตอิทธิพลของอาณา จักรขอมโบราณ เพราะพบโบราณสถานแบบขอมหลายแห่ง เช่น กู่พระโกนา อำเภอสุวรรณภูมิ กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย ปรางค์กู่ อำเภอธวัชบุรี เป็นต้น
ร้อยเอ็ด มีเนื้อที่ 8,299 ตารางกิโลเมตร และแบ่งการปกครองออกเป็น 20 อำเภอ คือ อำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอจตุรพักตรพิมาน อำเภอธวัชบุรี อำเภอพนมไพร อำเภอโพนทอง อำเภอเสลภูมิ อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภออาจสามารถ อำเภอหนองพอก อำเภอเมืองสรวง อำเภอโพธิ์ชัย อำเภอโพนทราย อำเภอเมยวดี อำเภอศรีสมเด็จ อำเภอจังหาร อำเภอเชียงขวัญ อำเภอหนองฮี และอำเภอทุ่งเขาหลวง
- รถยนต์
ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ -สระบุรี-นครราชสีมา(ทางหลวงหมายเลข 2) ถึงอำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 23 มหาสารคาม -ร้อยเอ็ด รวมระยะทางประมาณ 512 กิโลเมตร - รถไฟ
ต้องไปลงที่จังหวัดขอนแก่น แล้วต่อรถยนต์โดยสารเข้าจังหวัดร้อยเอ็ด สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับตารางรถไฟได้ที่ หน่วยบริการเดินทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย โทร. 0 2223 7010, 0 2223 7020, 1690 www.railway.co.th - รถโดยสารประจำทาง
บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสารประจำทางไปจังหวัดร้อยเอ็ดวันละหลายเที่ยว สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สถานีขนส่งจตุจักร (หมอชิต 2) โทร. 0 2936-2852-66 และสถานีขนส่งร้อยเอ็ด โทร. 0 4351 1939, 0 4351 2546 www.transport.co.th - เครื่องบิน
สายการบินพี บี แอร์ เปิดบริการเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ร้อยเอ็ด ทุกวันๆ ละ 1 เที่ยว เว้นวันอาทิตย์กับวันอังคาร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. 0 2261 0220 ต่อ 201-210 สำนักงานร้อยเอ็ด โทร. 0 4351 8572 www.pbair.com
สถานที่ท่องเที่ยว
ผาน้ำย้อย (พุทธอุทยานอีสาน) อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ที่บ้านโคกกลาง ตำบลผาน้ำย้อย เป็นผาหินขนาดใหญ่ ซึ่งมีน้ำไหลและซึมตลอดปีอยู่บนภูเขาเขียว แบ่งพรมแดนระหว่างอำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร และอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่ประมาณ 20,000ไร่
สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดี อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
เป็น เนื้อที่สำหรับปลูกต้นไม้แบ่งตามวรรณคดี เช่น เรื่องพระเวสสันดร ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเบงพ่าย ลานพุทธประวัติ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรแยกตามสรรพคุณ บริเวณสวนมีสภาพภูมิประเทศสวยงาม
แหลมพยอม อำเภอโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ อยู่บริเวณทิศตะวันออกของบึงโพนทอง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำกว้างใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอโพนทองไปทางทิศตะวันออก (ถนนสายอำเภอโพนทอง-อำเภอหนองพอก) ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร
สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น อาคาร 2 อาคารเชื่อมต่อกัน อาคารแรกประกอบด้วยห้องโถง ห้องบรรยาย ห้องนิทรรศการ สำนักงาน ห้องจำหน่ายบัตรและของที่ระลึก ส่วนอาคารที่ 2 ชั้นล่างเป็นส่วนแสดงพันธุ์ ชั้นบนของอาคารเป็นบ่อพักและสำรองพันธุ์สัตว์น้ำ
วัดบูรพาภิราม อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญเดิมชื่อ วัดหัวรอ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดบูรพาภิราม มีพระพุทธรูปปางประทานพรที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ พระพุทธรัตนมงคลมหามุนี หรือหลวงพ่อใหญ่ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
วัดสระทอง อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น ที่ประดิษฐานหลวงพ่อพระสังกัจจายน์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่ชาวร้อยเอ็ดเคารพสักการะ พระยาขัตติยะวงษา (ท้าวธน) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองร้อยเอ็ดคนแรก ได้พบพระองค์นี้เห็นว่ามีความเก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์มาก จึงได้นำมาประดิษฐานที่วัดสระทอง
พระมหาเจดีย์ชัยมงคล อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
เป็นพระเจดีย์ที่ใหญ่องค์หนึ่งของประเทศไทย มีความกว้าง 101 เมตร ความยาว 101 เมตร ความสูง 101 เมตร สร้างในเนื้อที่ 101 ไร่
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาน้ำทิพย์ อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ในพื้นที่อำเภอหนองพอก ครอบคุมดูแลพื้นที่ประมาณ 151,242 ไร่ หรือประมาณ 242 ตารางกิโลเมตร โดยสภาพพื้นที่จะเป็นเทือกเขาหินทรายสูงชันและสลับซับซ้อน
กู่พระโกนา อำเภอสุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่บ้านกู่ วัดกู่พระโกนา หมู่ 2 ตำบลสระคู การเดินทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด เดินทางตามทางหลวงสาย 215 ผ่านอำเภอเมืองสรวง
สิมวัดไตรภูมิคณาจารย์ อำเภอสุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านตากแดด ตำบลหัวโทน อำเภอสุวรรณภูมิ ลักษณะทางศิลปกรรม เป็นสิมแบบพื้นเมืองอีสาน
ทุ่งกุลาร้องไห้ อำเภอเกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
เป็น ทุ่งกว้างใหญ่ของภาคอีสาน มีอาณาเขตครอบคลุมถึง 5 จังหวัด คือ ในแนวทิศเหนือนั้นครอบคลุมอำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ และอำเภอโพนทราย ของจังหวัดร้อยเอ็ด
กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ในวัดบูรพากู่กาสิงห์ ตำบลกู่กาสิงห์ สามารถเดินทางได้ 2 ทาง คือ ใช้เส้นทางร้อยเอ็ด-เกษตรวิสัย ทางหลวงหมายเลข 214 ระยะทาง 47 กิโลเมตร
สิมวัดจักรวาลภูมิพินิจ (วัดหนองหมื่นถ่าน) อำเภออาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านหนองหมื่นถ่าน ตำบลหนองหมื่นถ่าน มีลักษณะทางศิลปกรรมเป็นสิมแบบพื้นเมืองอีสาน
บึงเกลือ (บุ่งเกลือ) อำเภอเสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ห่างจากตัวอำเภอเสลภูมิไปทางทิศตะวันออกประมาณ 10 กิโลเมตร เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ 7,500 ไร่
ปรางค์กู่ หรือ ปราสาทหนองกู่ อำเภอธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ที่บ้านยางกู่ ตำบลมะอี การเดินทางจากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 23 (ร้อยเอ็ด-ยโสธร) ประมาณ 10 กิโลเมตร ถึงที่ว่าการอำเภอธวัชบุรี
บ้านหวายหลึม อำเภอธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
เป็นหมู่บ้านทอผ้าไหม มีการจัดตั้ง "กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต" เป็นศูนย์รวมและจำหน่ายผลิตภัณฑ์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
พิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามโครงการการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประจำเมืองเป็นสถานที่จัดแสดงและรวบรวมเรื่องราวน่ารู้ทุกด้านของจังหวัด แห่งนี้
บึงพลาญชัย อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่บริเวณกลางเมืองร้อยเอ็ด ถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเกาะอยู่กลางบึงน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 2 แสนตารางเมตร
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
สวน สาธารณะกลางเมือง อยู่หน้าศาลากลางจังหวัด เปิดเมื่อปี พ.ศ. 2529 มีเนื้อที่ประมาณ 225 ไร่ ตกแต่งบริเวณด้วยไม้ดอกไม้ประดับนานาพันธุ์
วัดกลางมิ่งเมือง อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่บนเนินในเมือง เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานว่าสร้างก่อนตั้งเมืองร้อยเอ็ด ส่วนอุโบสถสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลายในอดีตเคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีถือ น้ำพิพัฒน์สัตยา
ผาน้ำย้อย (พุทธอุทยานอีสาน) อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ที่บ้านโคกกลาง ตำบลผาน้ำย้อย เป็นผาหินขนาดใหญ่ ซึ่งมีน้ำไหลและซึมตลอดปีอยู่บนภูเขาเขียว แบ่งพรมแดนระหว่างอำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร และอำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีเนื้อที่ประมาณ 20,000ไร่
สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดี อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
เป็น เนื้อที่สำหรับปลูกต้นไม้แบ่งตามวรรณคดี เช่น เรื่องพระเวสสันดร ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเบงพ่าย ลานพุทธประวัติ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรแยกตามสรรพคุณ บริเวณสวนมีสภาพภูมิประเทศสวยงาม
แหลมพยอม อำเภอโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ อยู่บริเวณทิศตะวันออกของบึงโพนทอง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำกว้างใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอโพนทองไปทางทิศตะวันออก (ถนนสายอำเภอโพนทอง-อำเภอหนองพอก) ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร
สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น อาคาร 2 อาคารเชื่อมต่อกัน อาคารแรกประกอบด้วยห้องโถง ห้องบรรยาย ห้องนิทรรศการ สำนักงาน ห้องจำหน่ายบัตรและของที่ระลึก ส่วนอาคารที่ 2 ชั้นล่างเป็นส่วนแสดงพันธุ์ ชั้นบนของอาคารเป็นบ่อพักและสำรองพันธุ์สัตว์น้ำ
วัดบูรพาภิราม อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญเดิมชื่อ วัดหัวรอ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น วัดบูรพาภิราม มีพระพุทธรูปปางประทานพรที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ พระพุทธรัตนมงคลมหามุนี หรือหลวงพ่อใหญ่ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก
วัดสระทอง อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
เป็น ที่ประดิษฐานหลวงพ่อพระสังกัจจายน์ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่ชาวร้อยเอ็ดเคารพสักการะ พระยาขัตติยะวงษา (ท้าวธน) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองร้อยเอ็ดคนแรก ได้พบพระองค์นี้เห็นว่ามีความเก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์มาก จึงได้นำมาประดิษฐานที่วัดสระทอง
พระมหาเจดีย์ชัยมงคล อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
เป็นพระเจดีย์ที่ใหญ่องค์หนึ่งของประเทศไทย มีความกว้าง 101 เมตร ความยาว 101 เมตร ความสูง 101 เมตร สร้างในเนื้อที่ 101 ไร่
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาน้ำทิพย์ อำเภอหนองพอก จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ในพื้นที่อำเภอหนองพอก ครอบคุมดูแลพื้นที่ประมาณ 151,242 ไร่ หรือประมาณ 242 ตารางกิโลเมตร โดยสภาพพื้นที่จะเป็นเทือกเขาหินทรายสูงชันและสลับซับซ้อน
กู่พระโกนา อำเภอสุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่บ้านกู่ วัดกู่พระโกนา หมู่ 2 ตำบลสระคู การเดินทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด เดินทางตามทางหลวงสาย 215 ผ่านอำเภอเมืองสรวง
สิมวัดไตรภูมิคณาจารย์ อำเภอสุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านตากแดด ตำบลหัวโทน อำเภอสุวรรณภูมิ ลักษณะทางศิลปกรรม เป็นสิมแบบพื้นเมืองอีสาน
ทุ่งกุลาร้องไห้ อำเภอเกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
เป็น ทุ่งกว้างใหญ่ของภาคอีสาน มีอาณาเขตครอบคลุมถึง 5 จังหวัด คือ ในแนวทิศเหนือนั้นครอบคลุมอำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ และอำเภอโพนทราย ของจังหวัดร้อยเอ็ด
กู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ในวัดบูรพากู่กาสิงห์ ตำบลกู่กาสิงห์ สามารถเดินทางได้ 2 ทาง คือ ใช้เส้นทางร้อยเอ็ด-เกษตรวิสัย ทางหลวงหมายเลข 214 ระยะทาง 47 กิโลเมตร
สิมวัดจักรวาลภูมิพินิจ (วัดหนองหมื่นถ่าน) อำเภออาจสามารถ จ.ร้อยเอ็ด
ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านหนองหมื่นถ่าน ตำบลหนองหมื่นถ่าน มีลักษณะทางศิลปกรรมเป็นสิมแบบพื้นเมืองอีสาน
บึงเกลือ (บุ่งเกลือ) อำเภอเสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ห่างจากตัวอำเภอเสลภูมิไปทางทิศตะวันออกประมาณ 10 กิโลเมตร เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ 7,500 ไร่
ปรางค์กู่ หรือ ปราสาทหนองกู่ อำเภอธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่ที่บ้านยางกู่ ตำบลมะอี การเดินทางจากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 23 (ร้อยเอ็ด-ยโสธร) ประมาณ 10 กิโลเมตร ถึงที่ว่าการอำเภอธวัชบุรี
บ้านหวายหลึม อำเภอธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด
เป็นหมู่บ้านทอผ้าไหม มีการจัดตั้ง "กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต" เป็นศูนย์รวมและจำหน่ายผลิตภัณฑ์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
พิพิธภัณฑ์ สถานแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามโครงการการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประจำเมืองเป็นสถานที่จัดแสดงและรวบรวมเรื่องราวน่ารู้ทุกด้านของจังหวัด แห่งนี้
บึงพลาญชัย อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่บริเวณกลางเมืองร้อยเอ็ด ถือเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัด มีลักษณะเป็นเกาะอยู่กลางบึงน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 2 แสนตารางเมตร
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ร้อยเอ็ด อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
สวน สาธารณะกลางเมือง อยู่หน้าศาลากลางจังหวัด เปิดเมื่อปี พ.ศ. 2529 มีเนื้อที่ประมาณ 225 ไร่ ตกแต่งบริเวณด้วยไม้ดอกไม้ประดับนานาพันธุ์
วัดกลางมิ่งเมือง อำเภอเมือง จ.ร้อยเอ็ด
ตั้ง อยู่บนเนินในเมือง เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานว่าสร้างก่อนตั้งเมืองร้อยเอ็ด ส่วนอุโบสถสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลายในอดีตเคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีถือ น้ำพิพัฒน์สัตยา
สถานที่พักแรม ที่พัก โรงแรม
v โรงแรมร้อยเอ็ดซิตี้ 78 ถนนเพลินจิต โทร. 0-4352-0387 – 400 โทรสาร 0-4352-0401 จำนวน 167 ห้อง ราคา 800 – 4,800 บาทv โรงแรมไหมไทย 99 ถนนหายโศรก โทร. 0-4351-1136 , 0-4351-1038 จำนวน 112 ห้อง ราคา 455 – 750 บาท
v โรงแรมเพชรรัชต์ 60-80 ถนนหายโศรก โทร. 0-4351-1937, 0-4351-4058 โทรสาร 0-4351-4078 จำนวน 146 ห้อง ราคา 300 – 600 บาท
v โรงแรมเพชรรัชต์การ์เด้น 404 หมู่ 17 ถนนคชพลายุกต์ ต.เหนือเมือง อ.เมือง โทร./โทรสาร 0-4351-9000 - 7 จำนวน 146 ห้อง ราคา 300–600 บาท
v โรงแรมบรรจง 99-101 ถนนสุริยเดชบำรุง โทร. 0-4351-1234, 0-4351-5158 จำนวน 30 ห้อง ราคา 120 – 200 บาท
v โรงแรมสายทิพย์ 133 ถนนสุริยเดชบำรุง โทร. 0-4351-4028, 0-4351-1742 จำนวน 66 ห้อง ราคา 280 – 380 บาท
v โรงแรมแคนคำ 2-62 ถนนรัฐกิจไคลคลา โทร. 0-4351-1508,0-4351-4036จำนวน 31 ห้อง ราคา 180 – 220 บาท
v โรงแรมแพรทอง 45-47 ถนนเพลินจิต โทร. 0-4351-1127 จำนวน 56 ห้อง ราคา 130 – 220 บาท
v บังกะโล99 102 – 104 ถนสุนทรเทพ โทร. 0-4351-1035, 0-4351-3986 จำนวน 31 ห้อง ราคา 220 - 320 บาท
v โรงแรมบัวทอง 40-46 ถนนรัฐกิจไคลคลา โทร. 0-4351-1142 จำนวน 36 ห้อง ราคา 120 – 270 บาท
Ø ไหมไทย คอฟฟี่ชอฟ โรงแรมไหมไทย โทร. 0-4351-1038
Ø เพชรรัชต์ คอฟฟี่ชอฟ โรงแรมเพชรรัชต์ โทร. 0-4351-1741, 0-4351-4058
Ø น้ำเพชร คอฟฟี่ชอฟ โรงแรมเพชรรัชต์การ์เด้น โทร./โทรสาร 0-4351-9000-7
Ø เรือนแก้ว คอฟฟี่ชอฟ โรงแรมร้อยเอ็ดซีตี้ โทร. 0-4352-0387
Ø แม่พลอยอาหารไทย 38/6-7 ถนนสันติสุข โทร. 0-4351-5209
Ø มารินทร์ ถนนมีโชคชัย โทร. 0-4351-2798
Ø รจนา 48/8 ถนนประชาธรรมรักษ์ โทร. 0-4351-1311
Ø บึงหลวง ถนนปัทมานนท์ โทร. 0-4351-2762
Ø สวนอาหารราตรี 35 ถนนรอบเมือง โทร. 0-4351-1921
Ø จงเจริญ จงเจริญ ตรงข้ามสถานีตำรวจภูธรอำเภอธวัชบุรี อ.ธวัชบุรี(อาหารพื้นเมืองอีสานแท้) โทร. 0-4356-9205
§ ร้านยวนจิต ถนนแจ้งสนิท (ตรงข้ามสถานีทดลองไหมร้อยเอ็ด) โทร. 512077จำหน่าย ผลิตภัณฑ์พื้นเมือง ผ้าไหม ผ้าทอพื้นเมือง หมอนลายขิต ฯลฯ
§ ร้านจรินทร์ 283-5 ถนนผดุงพานิช อ.เมืองร้อยเอ็ด โทร. 511645จำหน่าย ผ้าไหม ผลิตภัณฑ์จากไหม
วัฒนธรรมประเพณี
งานแข่งขันเรือยาวประเพณี ตำบลเมืองบัว อำเภอเกษตรวิสัย
ประมาณวันที่ 15-31 ตุลาคม ของทุกปีได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงฤดูน้ำหลาก คือช่วงเทศกาลออกพรรษา หรือช่วงประมาณวันที่ 15-31 ตุลาคม ของทุกปี (เรือที่มาร่วมแข่งส่วนหนึ่งก็จะเป็นเรือของจังหวัดร้อยเอ็ด และอีกส่วนก็เดินทางมาจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น กาฬสินธุ์, มหาสารคาม, ศรีสะเกษ, และนครราชสีมา เป็นต้น) จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชมกันเป็นจำนวนมาก
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ช่วงเดือนหกถึงเดือนเจ็ดจัดตามอำเภอ ต่างๆ ภายในจังหวัด ช่วงเดือนหกถึงเดือนเจ็ด มีขบวนแห่บั้งไฟซึ่งจัดอย่างสวยงาม แสดงถึงประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน โดยเฉพาะที่อำเภอพนมไพร และอำเภอสุวรรณภูมิ มีขบวนแห่ที่จัดอย่างยิ่งใหญ่ไม่แพ้ระดับจังหวัด ประชาชนภายในจังหวัดและจังหวัดข้างเคียงได้เดินทางมาชมเป็นจำนวนมาก
งานแข่งขันเรือยาวประเพณี ตำบลเมืองบัว อำเภอเกษตรวิสัย
ประมาณวันที่ 15-31 ตุลาคม ของทุกปีได้จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงฤดูน้ำหลาก คือช่วงเทศกาลออกพรรษา หรือช่วงประมาณวันที่ 15-31 ตุลาคม ของทุกปี (เรือที่มาร่วมแข่งส่วนหนึ่งก็จะเป็นเรือของจังหวัดร้อยเอ็ด และอีกส่วนก็เดินทางมาจากจังหวัดใกล้เคียง เช่น กาฬสินธุ์, มหาสารคาม, ศรีสะเกษ, และนครราชสีมา เป็นต้น) จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชมกันเป็นจำนวนมาก
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ช่วงเดือนหกถึงเดือนเจ็ดจัดตามอำเภอ ต่างๆ ภายในจังหวัด ช่วงเดือนหกถึงเดือนเจ็ด มีขบวนแห่บั้งไฟซึ่งจัดอย่างสวยงาม แสดงถึงประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน โดยเฉพาะที่อำเภอพนมไพร และอำเภอสุวรรณภูมิ มีขบวนแห่ที่จัดอย่างยิ่งใหญ่ไม่แพ้ระดับจังหวัด ประชาชนภายในจังหวัดและจังหวัดข้างเคียงได้เดินทางมาชมเป็นจำนวนมาก
งานประเพณีบุญข้าวจี่ของดีเมืองโพธิ์ชัย หรือบุญเดือนสาม
เป็นงานประเพณีที่จัดขึ้นตามฮีตสิบสอง จารีตประเพณีโบราณของชาวอีสาน ซึ่งถือว่าการได้ทำบุญข้าวจี่แล้วจะได้บุญกุศลมากและเป็นกาละทานชนิดหนึ่ง ในงานได้จัดให้มีการประกวดธิดาปุณณทาสี และข้าวจี่ยักษ์อีกด้วย
เป็นงานประเพณีที่จัดขึ้นตามฮีตสิบสอง จารีตประเพณีโบราณของชาวอีสาน ซึ่งถือว่าการได้ทำบุญข้าวจี่แล้วจะได้บุญกุศลมากและเป็นกาละทานชนิดหนึ่ง ในงานได้จัดให้มีการประกวดธิดาปุณณทาสี และข้าวจี่ยักษ์อีกด้วย
งานประเพณีกินข้าวปุ้นบุญผะเหวด ในวันที่ 1-2 มีนาคมของทุกปี เริ่มจัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และจะจัดเป็นประจำทุกปี ในวันที่ 1-2 มีนาคมของทุกปี ณ บริเวณสวนสมเด็จฯ และบึงพลาญชัย บุญผะเหวด หรือทางภาคกลางเรียกว่าบุญมหาชาติ นิยมจัดในช่วงเดือนสี่ เป็นงานบุญที่พระเทศน์มหาเวสสันดรชาดก เรียกการเทศน์นี้ว่า เทศน์มหาชาติ มีการแห่ขบวนผะเหวด 13 ขบวน ตามกัณฑ์เทศน์มหาชาติ จากอำเภอและหน่วยงานต่างๆ บริเวณรอบบึงพลาญชัยด้านในก็จัดเป็นร้านข้าวปุ้น (ขนมจีน) ไว้คอยบริการฟรีสำหรับผู้มาร่วมงาน นอกจากนี้ยังจัดให้มีการประกวดศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน เช่น พานบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น
ประเพณีแห่เทียนพรรษา
จัดขึ้นในวันอาสาฬหบูชาของทุกปีจัด ขึ้นในวันอาสาฬหบูชาของทุกปี ณ บริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์โดยขบวนแห่ต้นเทียนแต่ละวัดซึ่งได้รับการตก แต่งอย่างสวยงามด้วยดอกไม้สีสวยสด และสาวงามจะเคลื่อนขบวนจากคุ้มต่างๆ ผ่านตลาดไปยังบริเวณหน้าศาลาจตุรมุข ในบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เพื่อร่วมประกวดต้นเทียนและขบวนแห่ต้นเทียน ซึ่งมีการรำเซิ้งแบบอีสาน
จัดขึ้นในวันอาสาฬหบูชาของทุกปีจัด ขึ้นในวันอาสาฬหบูชาของทุกปี ณ บริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์โดยขบวนแห่ต้นเทียนแต่ละวัดซึ่งได้รับการตก แต่งอย่างสวยงามด้วยดอกไม้สีสวยสด และสาวงามจะเคลื่อนขบวนจากคุ้มต่างๆ ผ่านตลาดไปยังบริเวณหน้าศาลาจตุรมุข ในบริเวณสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เพื่อร่วมประกวดต้นเทียนและขบวนแห่ต้นเทียน ซึ่งมีการรำเซิ้งแบบอีสาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น