ประวัติจังหวัดบึงกาฬ สำหรับจังหวัดน้องใหม่ที่พึ่งก่อตั้งได้ไม่นานนาน ในปี พ.ศ.2554 นี้เอง เป็นจังหวัดที่ 77 ของประเทศไทย จำหรับประวัติจังหวัดนั้นมีไม่มากเพราะว่าก็ไม่ได้เป็นเมืองเก่าเมืองแก่แต่อย่างใด จึงมีไม่ยาวนาน และเป็นส่วนหนึ่งที่อยู่กับจังหวัดหนองคายมา แต่ก่อนพื้นที่นี้ไม่ค่อยมีคนอาศัยอยู่ไม่มากเท่าไหร่นัก ตั้งแต่อดีตเป็นชุมชนที่มีขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ และเป็นส่วนหนึ่งของเมืองหนองคายในสมัยที่ยังเป็นหัวเมืองใหม่จึงยังไม่ได้แยกออก แต่ด้วยพื้นที่ทางภูมิศาสตร์นั้น มีความยาวทอดไปตามลำน้ำโขง จึงมีความห่างไกลจากตัวเมืองหนองคายเป็นอย่างมาก ไม่สามารถที่ขจะพัฒนาได้เท่าที่ควร และมีความลำบากในการติดต่อประสานงานต่างๆ มีผลทำให้อำเภอบึงกาฬนั้นแยกออกมาเป็นจังหวัด พ่วงด้วยอีก 7 อำเภอในการปกครอง เพื่อความสะดวกแก่ประชาชนที่ติดต่อราชการ และง่ายต่อการดูแลให้ทั่วถึง จึงทำให้มีการเรีกร้องไปยังคณะรัฐมลตรี เพื่อก่อตั้งจังหวัด ในปี พ.ศ. 2537 แต่กว่าจะเป็นจังหวัดนั้น ให้เวลาเกือบ 20 ปี พ.ศ. 2554 ในวันที่ 23 มีนาคม จึงได้เป็นจังหวัดอย่างเป็นทางการนั้นตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
สำหรับเริ่มแรกนั้นควาดว่า บึงกาฬ เป็นชุมชนเล็กมาแต่ก่อนและไม่ได้อยู่อาศัยมาเก่าก่อน บริเวณนั้นเป็นป่าเขาติดชายฝั่งของแม่น้ำโขงสามารถที่จะทำเกษตรได้อย่างสมบูรณ์ เลยมีผู้คนมาอาศัยอยู่แต่ไม่ได้มีจำนวนมากนัก เดิมนั้นมีชื่อเรียกว่า “ไชยบุรี” ขึ้นตรงต่อจังหวัดนครพนมและได้ทำการโอนย้ายมาที่หนองคาย และได้ถูกเปลี่ยนเป็นชื่อใหม่ว่า บึงกาฬ ในปี 2482 สำหรับชื่อที่ใช้ในการเรียกนั้น มาจากบึงของที่นั้น คำว่า “กาฬ” หรือว่าชื่อเรียกเต็ม นิลกาฬ นั้นหมายถึงสีดำ บึงนั้นมีพลอยชนิดหนึ่งที่มีลักษณะสีดำ บางตำราบอกว่า เป็นชื่อเดิมของหมู่บ้านที่มีหนองน้ำขนาดใหญ่ มีชื่อว่า “บึงกาญจน์” ซึ่งบึงแห่งนั้นมีขนาดใหญ่ กว้างประมาณ 160 เมตร มีความยาว 3 กิโลเมตร และด้วยเหตุผลใดก็ตามนั้น จึงเป็นที่มาของบึงกาฬในปัจจุบันนี้
ตั้งแต่นั้นมาได้เป็นอำเภอหนึ่งของทางจังหวัดหนองคาย ได้มีผู้คนอาศัยอยู่ มีธรรมชาติที่สงบ ความเป็นอยู่อย่างเรียงง่าย แต่ผู้คนยังอาศัยไม่มากพอที่จะเป็นจังหวัดได้ จึงได้เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอในจังหวัดหนองคายเท่านั้น และด้วยจำนวนประชากรที่นั้นไม่มากเท่าไหร่ ด้วยที่จำนวนการอาศัยอยู่ของดั้งเดิมนั้นมีจำนวนหมู่บ้านที่ไม่มากเท่าไหร่ด้วย
ในปี พ.ศ. 2537 นายสุเมธ พรมพันห่าว ส.ส. พรรคเสรีธรรม ของจังหวัดหนองคาย เห็นว่าพื้นที่อำเภอบึงกาฬนั้นมีความห่างไกลจากตัวจังหวัดมาก จึงคิดสมควรที่จะเป็นจังหวัดเพื่อง่ายในการติดต่อราชการและการบำรุง รักษา จึงได้ทำการเสนอไปทางคณะรัฐมนตรี เพื่อให้เป็นจังหวัด แต่เนื่องด้วยว่าจำนวนผู้คนอาศัยยังไม่มากเท่าไหร่ และเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายให้กับรัฐ จึงยังไม่สามารถที่จะเป็นจังหวัดได้
โดยมีเนื้อความกระทู้ตามเนื่องการจัดตั้งจังหวัดมีเหตุผลพอคร่าวๆ ดังนี้ จังหวัดหนองคาย เป็นจังหวัดที่ติดชายแดน มีลักษณะที่ยาว มีบางอำเภออยู่ห่างไกลจังหวัดหนองคาย เป็นการยากที่จะติดต่อเรื่องราชการต่างๆ และด้วยติดกับชายแดดไม่มีปัญหาร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านแต่อย่างไร มีสมพันธ์ที่ดีต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน แต่ว่าทางกระทรวงมหาไทย ซึ่งมีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาไทยในช่วงนั้น ได้แก้ปัญหาด้วยการเพิ่มอำนาจให้กับอำเภอบึงกาฬในบางเรื่อง และมีการเพิ่มหน่วยงานที่จำเป็นเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในช่วงบริเวณนั้น จึงทำให้ยังไม่เป็นจังหวัดได้ รางานดังกล่าวจึงยังไม่รับพิจารณาในขั้นต่อไป เป็นระยะเวลาเกือบ 20 ปีเลยทีเดียว
ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฏร โดย ส.ส. พรรคกิจสังคม นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬตั้งกระทู้ถามสดอีกครั้ง และเป็นผลทำให้กระทรวงมหาไทยมีความเห็นชอบที่จะจัดตั้ง และได้ทำเข้ากระบวนการจัดตั้งเป็นจังหวักและทำการเสนอเป็นร่างกฏหมาย พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดต่อไป โดยใช้หลังเกณฑ์ จำนวนประชากร อีกทั้งเป็นแนวเขตแดน และที่สำคัญเรื่องพื้นที่จะเป็นจังหวัดนั้นน้อย แต่ด้วยความที่มีประชากรเพิ่มขึ้นแล้ว และความห่างไกลตัวจังหวัดจึงเห็นที่จะต้องเป็นจังหวัดได้
ทางรัฐสภามีมติเห็นชอบ พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 ประกาศใช้ในวันรุ่งขึ้น เป็นผลให้อำเภอบึงกาฬ เป็นจังหวัดบึงกาฬ อย่างเป็นทางการ และตามมาด้วยอำเภอในการปกครองได้แก่ อำเภอเซกา อำเภอโซ่พิสัย อำเภอบุ่งคล้า อำเภอบึงโขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ และอำเภอศรีวิไล มาด้วยเป็นเขตการปกครองของจังหวัดบึงกาฬ
สำหรับเริ่มแรกนั้นควาดว่า บึงกาฬ เป็นชุมชนเล็กมาแต่ก่อนและไม่ได้อยู่อาศัยมาเก่าก่อน บริเวณนั้นเป็นป่าเขาติดชายฝั่งของแม่น้ำโขงสามารถที่จะทำเกษตรได้อย่างสมบูรณ์ เลยมีผู้คนมาอาศัยอยู่แต่ไม่ได้มีจำนวนมากนัก เดิมนั้นมีชื่อเรียกว่า “ไชยบุรี” ขึ้นตรงต่อจังหวัดนครพนมและได้ทำการโอนย้ายมาที่หนองคาย และได้ถูกเปลี่ยนเป็นชื่อใหม่ว่า บึงกาฬ ในปี 2482 สำหรับชื่อที่ใช้ในการเรียกนั้น มาจากบึงของที่นั้น คำว่า “กาฬ” หรือว่าชื่อเรียกเต็ม นิลกาฬ นั้นหมายถึงสีดำ บึงนั้นมีพลอยชนิดหนึ่งที่มีลักษณะสีดำ บางตำราบอกว่า เป็นชื่อเดิมของหมู่บ้านที่มีหนองน้ำขนาดใหญ่ มีชื่อว่า “บึงกาญจน์” ซึ่งบึงแห่งนั้นมีขนาดใหญ่ กว้างประมาณ 160 เมตร มีความยาว 3 กิโลเมตร และด้วยเหตุผลใดก็ตามนั้น จึงเป็นที่มาของบึงกาฬในปัจจุบันนี้
ตั้งแต่นั้นมาได้เป็นอำเภอหนึ่งของทางจังหวัดหนองคาย ได้มีผู้คนอาศัยอยู่ มีธรรมชาติที่สงบ ความเป็นอยู่อย่างเรียงง่าย แต่ผู้คนยังอาศัยไม่มากพอที่จะเป็นจังหวัดได้ จึงได้เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอในจังหวัดหนองคายเท่านั้น และด้วยจำนวนประชากรที่นั้นไม่มากเท่าไหร่ ด้วยที่จำนวนการอาศัยอยู่ของดั้งเดิมนั้นมีจำนวนหมู่บ้านที่ไม่มากเท่าไหร่ด้วย
ในปี พ.ศ. 2537 นายสุเมธ พรมพันห่าว ส.ส. พรรคเสรีธรรม ของจังหวัดหนองคาย เห็นว่าพื้นที่อำเภอบึงกาฬนั้นมีความห่างไกลจากตัวจังหวัดมาก จึงคิดสมควรที่จะเป็นจังหวัดเพื่อง่ายในการติดต่อราชการและการบำรุง รักษา จึงได้ทำการเสนอไปทางคณะรัฐมนตรี เพื่อให้เป็นจังหวัด แต่เนื่องด้วยว่าจำนวนผู้คนอาศัยยังไม่มากเท่าไหร่ และเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายให้กับรัฐ จึงยังไม่สามารถที่จะเป็นจังหวัดได้
โดยมีเนื้อความกระทู้ตามเนื่องการจัดตั้งจังหวัดมีเหตุผลพอคร่าวๆ ดังนี้ จังหวัดหนองคาย เป็นจังหวัดที่ติดชายแดน มีลักษณะที่ยาว มีบางอำเภออยู่ห่างไกลจังหวัดหนองคาย เป็นการยากที่จะติดต่อเรื่องราชการต่างๆ และด้วยติดกับชายแดดไม่มีปัญหาร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านแต่อย่างไร มีสมพันธ์ที่ดีต่อกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน แต่ว่าทางกระทรวงมหาไทย ซึ่งมีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาไทยในช่วงนั้น ได้แก้ปัญหาด้วยการเพิ่มอำนาจให้กับอำเภอบึงกาฬในบางเรื่อง และมีการเพิ่มหน่วยงานที่จำเป็นเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในช่วงบริเวณนั้น จึงทำให้ยังไม่เป็นจังหวัดได้ รางานดังกล่าวจึงยังไม่รับพิจารณาในขั้นต่อไป เป็นระยะเวลาเกือบ 20 ปีเลยทีเดียว
ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฏร โดย ส.ส. พรรคกิจสังคม นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬตั้งกระทู้ถามสดอีกครั้ง และเป็นผลทำให้กระทรวงมหาไทยมีความเห็นชอบที่จะจัดตั้ง และได้ทำเข้ากระบวนการจัดตั้งเป็นจังหวักและทำการเสนอเป็นร่างกฏหมาย พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดต่อไป โดยใช้หลังเกณฑ์ จำนวนประชากร อีกทั้งเป็นแนวเขตแดน และที่สำคัญเรื่องพื้นที่จะเป็นจังหวัดนั้นน้อย แต่ด้วยความที่มีประชากรเพิ่มขึ้นแล้ว และความห่างไกลตัวจังหวัดจึงเห็นที่จะต้องเป็นจังหวัดได้
ทางรัฐสภามีมติเห็นชอบ พ.ร.บ. จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 ประกาศใช้ในวันรุ่งขึ้น เป็นผลให้อำเภอบึงกาฬ เป็นจังหวัดบึงกาฬ อย่างเป็นทางการ และตามมาด้วยอำเภอในการปกครองได้แก่ อำเภอเซกา อำเภอโซ่พิสัย อำเภอบุ่งคล้า อำเภอบึงโขงหลง อำเภอปากคาด อำเภอพรเจริญ และอำเภอศรีวิไล มาด้วยเป็นเขตการปกครองของจังหวัดบึงกาฬ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น